Month: September 2019

ขั้นตอนการนำ Android Application ที่พัฒนาขึ้นบน Play Store

เมื่อเราพัฒนา Application บน Android และสามารถทำเป็นไฟล์นามสกุล apk ได้แล้ว ถ้าต้องการนำไฟล์ Application นี้ขึ้นไปยัง Google Play Store มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่  1 จะต้องสมัครสมาชิกในส่วนของ Developer Console หรือที่เรียกว่า DC ขั้นตอนการสมัครให้เข้าหน้าเว็บ https://play.google.com/apps/publish

ionic 4 native storage เพื่อรับค่าจาก textbox และเก็บค่าที่ได้ไว้ใช้กับหน้าอื่นๆ ในแอพ

ionic 4 native storage เพื่อรับค่าจาก textbox และเก็บค่าที่ได้ไว้ใช้กับหน้าอื่นๆ ในแอพ เช่นหน้า home เรามี textbox กดปุ่ม button ไปหน้า p2 แล้วค่าใน textbox สามารถไปแสดงในหน้า p2 ได้ พอพิมพ์ 3333 แล้วกดปุ่มเด้งไปหน้า p2 แล้วส่งค่า 3333 ไปแสดง 1. ionic…

ionic framework 5 set background color

เราสามารถ set Background Color ได้ โดยไปเพิ่มในไฟล์ variables.scss ในโฟลเดอร์ theme และเพิ่มโค้ดนี้ลงไป --ion-background-color:dimgrey; หลัง color: ให้ใส่ชื่อสีหรือใส่รหัสสีลงไปแทน ดังภาพ จะได้ผลดังนี้ กรณีที่ต้องการให้แต่ละหน้ามีสีที่ต่างกันหรือกำหนดสีในเนื้อหาที่ระบุ จะต้องใช้อีกวิธี เช่นสร้าง div ขึ้นมาครอบ content ของเราเช่น   จะได้ผลลัพธ์ดังนี้

ionic framework 5 set background image

การทำ background image ให้ทุกหน้า ให้ดาวโหลดไฟล์ภาพวางไว้ในโฟลเดอร์ assets หลังจากนั้นให้เปิดไฟล์ global.scss (ในภาพด้านบนจะอยู่ล่าง theme) ใส่โค้ดลงไป ดังนี้ ion-content { --background: url(/assets/bg.jpg) no-repeat center/cover fixed; } ตัวอย่างดังภาพด้านล่าง แล้วเซฟแล้วรันจะได้ภาพ Background แสดงบนแอปที่สร้างดังนี้