Hyper-V
1. เริ่มจาก Add Roles -> Hyper-V
2. Virtual Switch Manager

การ Set Card LAN
Private จะติดต่อกันได้เฉพาะ Private เดียวกันเช่นถ้าสร้าง Private01 ให้กับเครื่อง Virtual 3 เครื่องจะติดต่อกันได้ แต่ถ้า private ต่างกันจะติดต่อกันไม่ได้ เช่นเครื่อง 1 private01 เครื่อง 2 private02 จะติดต่อกันไม่ได้
Internal จะสร้าง Lan Adapter ที่เครื่องจริงด้วยเพื่อจะติดต่อกับเครื่อง Virtual
External จะต้องเลือก Card LAN แล้วสิ่งสำคัญต้องมี Card LAN หลายๆใบเพื่อใช้กับ Virtual

3. SET Hard Disk

ทำการ NEW Hard Disk เลือก VHD แล้วจะมีให้เลือก 3 อย่างได้แก่ Dynamic Expanding ไว้สำหรับเทสแล๊ปมีเนื้อที่ไม่มาก ทดสอบสร้าง Dynamic แล้วก็จน Finish จะได้ Hard Disk แบบ Dynamic หลังจากนั้นลองสร้างแบบ Fix Size ไว้ใช้งานจริงๆ เหมือนเครื่องจริงทำให้ทำงานได้ไวกว่า Dynamic เนื้อที่จะถูกสร้างเท่ากับที่กำหนด สุดท้ายแบบ Differencing ไว้สำหรับทำแล๊ปเท่านั้นและไม่อยากลงวินโดว์หลายๆรอบ คือหลักการมันจะให้ชี้หา HD ตัวแม่แล้วมันจะอ้างอิง เมื่อสร้าง Dif1-5 ให้กับ Virtual1-5 จะได้สิ่งที่เหมือนกับ HD ตัวแม่แต่พอมีแก้ไขอะไรมันจะแก้ไขที่ตัวลูก แต่ถ้าตัวแม่พัง ตัวลูกจะพังหมด

ทำ Direct Attach Storage เอา HD มาใส่ที่เครื่องจริงหลังจากนั้นมาคลิ้กขวาเลือก Initial ในหน้าตาจัดการ disk manager หลังจากนั้นคลิ้กขวาออนไลน์ หลังจากนั้นทำการสั่งออฟไลน์ จากนั้นไปยัง Hyper-V Manager ไปยัง Virtual Machine ที่สร้างไว้แล้วเลือก Setting ปรับตรง HD แล้วเลือก Physical Hard disk ได้

วิธีการเพิ่ม HD ให้กับ Virtual ทำดังนี้
– Shutdown Virtual
– ชี้ที่ SCSI controller แล้วเลือก Hard drive แล้ว Add แล้ว Browse
– ถ้าต้องการทำเพิ่มให้ทำซ้ำไปชี้ที่ SCSI Controller แล้วเลือก Hard Drive แล้ว Add Browse

* Inspect Disk เอาไว้สำหรับ Check Hard Disk แล้วเลือกหา Virtual HD ที่สร้างไว้
* Edit Disk เอาไว้ขยายเอาไว้ Convert เพื่อทำให้ Disk ไวขึ้นเช่นเป็น Dynamic ทำให้เป็น Fix ได้

4. New Virtual Machine สร้างขึ้นมาแล้วเลือก Card LAN เลือก HD จากที่สร้างแล้วคลิ้กขวาเลือก Setting ถ้าอยาก Add Card LAN สามารถ Add ได้เลย * Priority ยิ่งน้อยยิ่งดียกเว้นใน Printer แต่ถ้า Weight ยิ่งมากยิ่งดี
*เมื่อสร้าง Virtual เสร็จสามารถกด snapshot เอาไว้ทดสอบแล้วมันจะ revert ได้ 50 ครั้ง
*เมื่อสั่ง Shutdown มันจะ Save State ให้อัตโนมัติ
*ให้ Set DA Start เพื่อให้ Domain Start ก่อน
*ต้องใช้ UPS ดีๆด้วยถ้าจะใช้ Virtual Machine เพราะถ้าไฟดับบางทีมัน Save State ไม่ทันอาจจะพังได้
*ถ้าติดตั้งพวก Windows เก่าๆ ตอนเปิดหน้า Connect Virtual มาตรง Action ไปเปิด Insert Intregration Service Setup เพื่อให้สามารถลากเมาส์เข้าออกได้

ประโยชน์ของการทำ Hyper-V
-ไม่ต้องขยาย Sever Room ] -ประหยักค่าไฟ
-ประหยัด UPS

*การ Migrate จากเครื่องจริงไปเป็น Virtual ถ้า HD ของเครื่องจริงไม่ใช่ SCSI สามารถไปโหลด Freeware ชื่อ Physical to VHD
*ถ้าเครื่องจริงเป็น SCSI เป็น Hardware Less ต้องซื้อซอฟแวร์ชื่อ SCVMM : System Center Virtual Machine Manager
*ถ้าจะใส่ CD จริงๆต้องใส่ได้ทีละเครื่องเท่านั้น ซึ่งถ้าทำ ISO จะสะดวกกว่าเพราะสามารถทำได้หลายๆเครื่องพร้อมกัน
# File-Server
1. Create Folder & Share การแชร์จะมี Admin กับ Power User เท่านั้นที่แชร์ได้
2. Connect To Share
-ใช้การ Browse My Network Place ซึ่งวินโดว์รุ่นใหม่ๆจะเอาออกแล้วเพราะอันตรายเพราะมันเห็นไฟล์ที่แชร์ทั้งหมดในองค์กรได้
-ใช้การ RUN \\ip\sharename
3. ทำการ Map โดยออกไป cmd แล้วพิมพ์ NET USE x: \\ip\sharename (ตรง x: คือกำหนดให้มันมีไดรฟ์เพิ่มขึ้นมา)
-Share แล้วใส่ Share Name เป็น xxxแล้วใส่ $ เข้าไปเป็น xxx$ มันจะเป็น Hidden Share เวลาใช้ต้องพิมพ์ตรงๆ
4. Managing Share Folder
-cmd : md rrr สร้างฟอเดอร์ rrr แล้วสั่งแชร์ด้วย net share rrr=c:\rrr เป็นการแชร์ชื่อ rrr ถ้าต้องการยกเลิก net share rrr /delete ยกเลิกการแชร์ rrr
-ถ้าจะ set permission ไปที่ Tools -> Computer Management ไปที่ Shared Folders แล้ว Shares สามารถเปลี่ยนแปลง share Session เอาไว้ Manage Session ที่เกิดจากการแชร์

การแชร์จะขึ้นอยู่กับ CAL (Client Access License) จำนวนเข้ามาใช้การแชร์
XP จะได้ 10
2003 จะได้ 5
7 จะได้ 20
*ก่อนที่จะ Shutdown หรือ Restart เครื่อง ให้ไปเช็ค 2 จุดคือ
1) Computer Management -> Shared Folder->Session เอาไว้ดู Browser User
2) ดูที่ Task Manager ที่แท๊ป user เอาไว้ดู Remote User
Openfile เอาไว้ดูว่าใครเข้ามาเปิดไฟล์อยู่

5. Administrative Share

เช่นพิมพ์ที่ run : \\192.168.1.2\c$ ไปที่ Server02 ได้ทันที ถ้าจะปิด c$ ถาวรเข้า regedit แล้วไปที่ HKEY_LOCAL_MACHINE\SYSTEM\CurrentControlSet\Service\LanmanServer\Parameters คลิ้กขวาที่ว่างด้านขวา New-DWORD Value 32 หลังจากนั้นถ้าเป็น Client ใส่ AutoShareWKS 0 ถ้าฝั่ง Server ใช้ AutoShareServer 0 หลังจากนั้นพิมพ์ cmd net stop server & net start server กลับไปดูที่ Computer Management->Shared Folder ตรง Shared จะพบว่าไฟล์ C$ หายไปพวกที่เป็น $ หายไป ถ้าจะเอากลับมาก็ไปแก้ regedit ตรง AutoShare… เปลี่ยนค่าเป็น 1 แล้ว net stop server & net start server

6. Permission & Security ปกติการแชร์ฟอเดอร์มันจะสืบทอดภายใต้ฟอเดอร์เดียวกันทำให้เมื่อเรากดหนด full control มันจะถูกสืบทอดไปยังฟอเดอร์อื่นๆภายใต้ตัวฟอเดอร์แม่ ถ้าไม่ต้องการสืบทอดสิทธิจากตัวแม่ให้ไปที่แท๊บ Security ไป Advance ->Disable Inheritance แล้วเลือก Edit มันจะทำให้สามารถ Remove user จากตรง Security ได้

การแชร์รูปแบบใหม่มีตั้งแต่ windows 7 ขึ้นมาสร้างฟอเดอร์แล้วเลือก Share With Specific People
ถ้าจะ Set ให้สร้างได้แก้ได้ แต่ห้ามลบห้ามย้าย
#NTFS
-Security
-Quota สร้างฟอเดอร์มาที่ ไดรฟ์ E แล้ว properties ไปที่ Quota แล้ว Set Enable quota… กับ Deny disk .. เพื่อให้มันเห็นและใช้ได้ตามจริงแล้วกำหนด Limit disk space to 20mb และกำหนด Set warning level to 17mb ให้มันแจ้งเตือนเมื่อใกล้ถึง 20mb
มันจะได้ 20mb ทั้ง drive E แต่ถ้าจะเพิ่มพิเศษให้ไปที่ Quota Entries แล้วทำการ add ให้ user ได้ 50mb แล้วกลับไปที่เครื่องที่ Map folder ที่ share ไว้จะได้ 50mb สำหรับ user ที่ พิเศษ


Storage Technology
1 DAS (Direct Attach Storage) เป็น HD ที่เราใช้ทั่วไป ข้อดีใช้ง่ายแต่ข้อเสียวินโดว์พังอาจจะข้อมูลหาย ใช้หลายโปรแกรมจะช้า
2 NAS (Network Attach Storage) ข้อดีทำเรตได้ ทำรีดันแดนส์ได้ ป้องกันไวรัสได้ระดับหนึ่ง แต่ถ้าทราฟฟิกเยอะอาจจะช้า
3 SAN (Storage Area Network) ดีสุดราคาแพง
HD 1 ลูกสามารถสร้าง Drive Primary ได้ 4 (SET Active) การที่มี HD ใหญ่เราจะทำ 3 Primary 1 Extend เราต้องสร้าง logical
Fat 2GB Fat32 ลองรับ 32GB NTFS จะรู้จัก 2TB(MBR) แต่ถ้าเป็น GPT จะรู้จักใหญ่มากกว่า 2TB
Fat จะ Allocate 64k แต่ Fat32 จะ 4k ส่วน NTFS จะเหลือ 512 Byte
ตั้งแต่ Version 2008 จะไม่เรียก Partition จะเรียก Simple Volumn (Extend ,Shrink)
สามารถคอนเวริต dynamic disk เป็น spand คือการเอา HD มารวมๆกันรวมเป็น Drive เดียวแต่ข้อเสียคือมันจะเขียนเป็นลูกๆไป แล้วถ้า HD ไหนไวก็จะเขียนไว อันไหนช้าก็จะช้า
Raid Software
Raid0->Striped ต้องการ HD อย่างน้อย 2 ลูกได้สูงสุด 32 ลูก มันจะสอย 64k ทำให้อ่านและเขียนไวสุด
Raid1->Mirror ต้องการ HD สองลูกข้อมูล 1 ชุดจะเขียนลงบน HD พร้อมๆกันทำให้เขียนช้า จะเสียพื้นที่ไป 50%
Raid5->Striped+Priority ต้องการ HD อย้างน้อย 3 ลูกจะเขียน64k ตัวนี้ถ้าเสียเสียได้ 1HD
ถ้าจะ format HD เอาไว้เก็บไฟล์ใหญ่ๆเช่น DB ของ App หรือการ Backup file ให้ format HD ให้เป็น NTFS แล้วเลือก Allocation unit size เป็น 64
การทำ Mirror เมื่อไฟล์ที่ copy กันแล้วให้ทำการ Break Mirror จะทำให้ได้ไฟล์ 2 ที่

การทำ Storage Pools เข้าที่ Server Manager-> file & Storage->Storage Pools แล้วเลือก New Pools แล้วเลือก HD แล้ว Next

By admin

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.